หน้าแรกกัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร สื่อธรรมะ กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร
กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร

 

 

 

 

 

 






ภาพ  ป๋องแป๋ง
ลงสี  ปูเป้
  ในอดีตกาล สมัยพระเจ้าพรหมทัต
ครองราชสมบัติ ณ นครพาราณสี
แคว้นกาสี
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
   พระองค์ทรงมี
บัณฑิตผู้หนึ่ง
เป็นเจ้าหน้าที่พนักงาน
ตีราคาพัสดุที่จะซื้อมา
เป็นของหลวง
เช่น ช้าง ม้า ทองคำ และเพชรพลอยต่างๆ
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
   เนื่องจากเป็น
ประเพณีสมัยนั้นว่า
เมื่อเจ้าพนักงาน
ตีราคาพัสดุได้รับ
พระบรมราชานุญาต
ให้ใช้อำนาจแทน
พระองค์ในการตีราคา
สินค้า
    แล้วหากตีราคา
สินค้าว่ามีมูลค่าเท่าใด
เจ้าของก็จะได้รับ
มูลค่าเพียงเท่านั้น
จะต่อรองขัดขืน
ไม่ยอมขายมิได้
เป็นอันขาด

 

    บัณฑิตผู้นี้ได้ทำหน้าที่อย่าง
ยุติธรรม ไม่ว่าจะตีราคาสินค้า
ชนิดใดก็ตีราคาได้สมเหตุสมผล
เสมอมา
    แต่เนื่องจากพระเจ้าพรหมทัต
ทรงมีอุปนิสัยโลภ เห็นแก่ได้
จึงไม่ค่อยพอพระทัยในการกระทำ
ของบัณฑิตเท่าใดนัก

 

นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
   ตั้งแต่นั้นมา พนักงานตีราคา
คนใหม่ ก็ตีราคาพัสดุต่าง ๆ
ที่ชาวบ้านนำมาขายในราคา
ที่ต่ำกว่าความเป็นจริง
      อยู่ต่อมาไม่นาน มีพ่อค้า
คนหนึ่ง ได้นำม้าพันธุ์ดี
๕๐๐ ตัวมาจากแดนไกล
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
    ในสมัยนั้นนครพาราณสี
มีปราการล้อมรอบ วัดกำแพง
ภายในโดยรอบยาวประมาณ
๑๒ โยชน์ พื้นที่ทั้งภายในและ
ภายนอก กำแพงมีอาณาเขต
รวมกันถึง ๓๐๐ ตารางโยชน์
    บัดนี้ได้ถูกตีราคาให้เท่ากับ
ข้าวสารเพียงทะนานเดียว
เสียแล้ว
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
       พระเจ้าพรหมทัตทรงแต่งตั้ง
บัณฑิตคนเดิมให้กลับมา เป็น
เจ้าพนักงานตีราคาอีกครั้งหนึ่ง
ม้าทั้ง ๕๐๐ ตัว  ก็ได้รับการ
ตีราคาใหม่อย่างยุติธรรม
นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม นิทานชาดก_บัณฑิตผู้เที่ยงธรรม
Copyright © Dhammakaya Foundation. All rights reserved.
 
จบ
 
ที่มา : หนังสือนิทานชาดก โดย พระภาวนาวิริยคุณ  


 
ตัณฑุลนาฬิชาดก
 
:: สาเหตุที่ตรัสชาดก ::

.....ในสมัยพุทธกาล เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ครั้งนั้น พระทัพพ
มัลลบุตร ซึ่งสำเร็จเป็นพระอรหันต์ตั้งแต่อายุเจ็ดขวบ และเป็นที่รักของสงฆ์ทั้งหลาย ได้รับหน้าที่เป็นพระภัตตุทเทสก์์ คือทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมดูแลหอฉันโรงทานทุกๆ วัน

.....ในมหาวิหารนี้ มีพระภิกษุรูปหนึ่งซึ่งบวชเมื่อแก่ชื่อ อุทายีี เป็นผู้มีนิสัยติดในรสอาหาร และมักจะเอะอะโวยวายเมื่อได้รับอาหารไม่ถูกปาก ท่านจึงขอทำหน้าที่เป็นภัตตุทเทศก์เอง
ซึ่งตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา พระอุทายีก็แบ่งสรรปันส่วนอาหารสงฆ์ในหอฉันโรงทานตามอำเภอใจ โดยไม่คำนึงถึงความเหมาะสมแต่อย่างใด ทำความเดือดร้อนให้หมู่สงฆ์ทั้งมหาวิหาร พระภิกษุทั้งหลายจึงขอให้ท่านออกจากหน้าที่นี้ และช่วยกันนำท่านออกจากหอฉันโรงทานไป แต่ท่านก็พยามยามขัดขืน ทำให้เกิดเสียงอึงคะนึงขึ้น

.....พระบรมศาสดาประทับอยู่ด้วยในหอฉันโรงทาน จึงตรัสเรียกพระอานนท์มาซักถาม ทรงทราบโดยตลอดแล้ว จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ พระอานนท์จึงกราบทูลอาราธนาให้ทรงเล่าเรื่องราวแต่หนหลัง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเล่า ดังนี้



 
:: ข้อคิดจากชาดก ::
 

.....๑. ในการทำงาน ให้ถือเอาความถูกต้องตามหลักการประโยชน์ และความเหมาะสมเป็นเกณฑ์ ไม่ถือเอาแต่ความถูกใจมิฉะนั้นจะขาดความยุติธรรม แล้วกฎหมู่จะเหนือกฎหมาย เพราะถึงจะทำดีเพียงใด ก็ย่อมไม่ถูกใจคนพาลเป็นธรรมดา

.....๒. เมื่อจะมอบหมายงานให้ผู้ใด ถ้าใครรับปากง่ายเกินไปอย่าได้ใช้เลย

.....๓. เวลาจะทำงานใหญ่ มีผลประโยชน์มาก ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ มักจะถูกคนพาลโจมตีให้ท้อใจ หนักใจเสมอๆ เพราะไปขัดผลประโยชน์ของเขา ดังนั้น

         ๑. ผู้ใดจะทำงานใหญ่ จะต้องฝึกใจให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินไว้เสียก่อน

         ๒. ผู้บังคับบัญชา และผู้เกี่ยวข้องทั้งหลายก็ต้องหมั่นให้กำลังใจผู้ปฏิบัติงานด้วย

 
 

Home  | นิทานชาดก