หน้าแรกกัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร สื่อธรรมะ กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร
กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร

 

 

 

 

 

 






ภาพ  ป๋องแป๋ง
ลงสี  ปูเป้

     ในอดีตกาล ณ กรุง
พาราณสี มีบุตรเศรษฐี
คนหนึ่ง เป็นผู้มีความรู้
ความสามารถดีมาก
 

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

  ครั้นต่อมาเมื่อบิดามารดาสิ้นชีวิตลงก็คิดได้ว่า ทุกคนเมื่อตายแล้วก็นำทรัพย์สมบัติ
ติดตัวไปไม่ได้ บุตรเศรษฐีจึงได้นำทรัพย์สมบัติทั้งหมดแจกจ่ายทำทานจนหมดสิ้น

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

     หลังจากนั้นบุตรเศรษฐีได้ออกบวชเป็นฤาษี ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ในป่าหิมพานต์
จนสำเร็จฌานโลกีย์ บรรลุอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ และมีผู้เลื่อมใสออกบวชเป็นศิษย์ถึง ๕๐๐ คน

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

 อยู่มาวันหนึ่งใกล้ที่พักของศิษย์ผู้หนึ่ง ได้มีลูกงูพิษเลื้อยมา เมื่อศิษย์คนนั้นเห็นลูกงูพิษ ก็บังเกิดความรักลูกงูขึ้นมาจับใจ

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

 เมื่อถึงเวลาก็นำอาหารมาป้อน ให้ความรักความเอาใจใส่ราวกับมันเป็นลูกของตน

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

ต่อมาไม่นานนัก เรื่องที่ลูกศิษย์คนนี้เลี้ยงงูพิษเอาไว้ ก็ล่วงรู้ไปถึงพระอาจารย์

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ

   จากนั้นมาอีก ๒-๓ วัน ฤาษีทั้งหลายพากันไปหาผลไม้ซึ่งมีอยู่มากมายในป่าลึกไกลจากอาศรม แล้วพักอยู่ที่นั่นสองสามวัน งูเวฬุกะซึ่งอยู่ในกระบอกไม้ไผ่จึงถูกทิ้งไว้ที่อาศรมนั่นเอง

นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
เมื่อฤาษีทั้งหลายกลับมา ศิษย์หัวดื้อก็รีบมาหางูเวฬุกะด้วยความห่วงใย แต่กลับต้องพบกับสิ่งไม่คาดฝัน
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
งูพิษนั้นกำลังโกรธ เพราะอดอาหารมาหลายวัน จึงฉกเข้าที่มือทันที ทำให้ศิษย์หัวดื้อถึงแก่ความตายอยู่ตรงนั้นเอง
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
ครั้นพระอาจารย์ทราบเรื่องแล้ว จึงให้ลูกศิษย์ช่วยกันทำศพ จากนั้นได้กล่าวสอนแก่ศิษย์ถึงโทษของการดื้อรั้น
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ นิทานชาดก_ศิษย์หัวดื้อ
Copyright © Dhammakaya Foundation. All rights reserved.
 
จบ
 
ที่มา : หนังสือนิทานชาดก โดย พระภาวนาวิริยคุณ  


 
เวฬุกชาดก
 
:: สาเหตุที่ตรัสชาดก ::

.....ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล มีภิกษุรูปหนึ่งมีนิสัยดื้อรั้น เอาแต่ใจตัวเอง ว่ายากสอนยาก เพื่อนภิกษุจะว่ากล่าวตักเตือนอย่างไรก็ไม่เชื่อฟัง พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงสอบถามภิกษุรูปนั้น

....เมื่อได้ความตามจริงแล้วจึงทรงตักเตือนแล้วทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า “ ดูก่อนภิกษุ มิใช่แต่บัดนี้เท่านั้นที่เธอเป็นผู้ว่ายากสอนยาก แม้ในชาติก่อน เธอก็มีนิสัยเช่นนี้ ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของบัณฑิต จึงถูกงูกัดตาย ”

....จากนั้นพระพุทธองค์ทรงนำ เวฬุกชาดก มาตรัสเล่าี้



 
:: ข้อคิดจากชาดก ::
 

....๑ . โบราณว่าอย่าเลี้ยงงูพิษ เพราะมันอาจแว้งกัดเราได้ทุกเมื่อ เช่นเดียวกันคนพาลซึ่งอาจทำร้ายผู้มีพระคุณได้ตลอดเวลา

.... ๒ . ไม่ควรเพิกเฉยต่อคำตักเตือนของผู้หวังดีที่มีประสบการณ์มองเห็นการณ์ไกล เช่น บิดามารดา หรือครูอาจารย์



 
 

Home  | นิทานชาดก