สารบัญ
คํานํา
วิธีการศึกษา
อักษรย่อชื่อคัมภีร์
บทที่ ๑ ประวัติพระอภิธรรม
๑. ประวัติพระพุทธศาสนา-----------2
๑.๑. ยุคพระไตรปิฎก-----------3
๑.๒. ยุคอรรถกถา-----------8
-๑. อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก-----------10
-๒. อรรถกถาอภิธรรมสังเขป (ย่อ)-----------10
๑.๓. ยุคฎีกา อนุฏีกา-----------11
๒. ความหมายและความสําคัญของพระอภิธรรม-----------12
๓. ประวัติการเกิดบนของพระอภิธรรม-----------14
๔. การแสดงพระอภิธรรมครั้งแรกในโลก-----------15
๕. การศึกษาพระอภิธรรมในสมัยต่าง ๆ-----------16
๖. การศึกษาพระอภิธรรมในประเทศไทย-----------17
๗. พระอภิธรรมศึกษา วัดพระธรรมกาย-----------22
สรุปประวัติการสืบทอดพระอภิธรรม-----------25
บทที่ ๒ องค์ประกอบธรรมชาติและชีวิต
๑. ความหมายของธรรมชาติและชีวิต-----------30
๒. ความสัมพันธ์ของรูปนามขันธ์ ๕ ในกายมนุษย์-----------34
๓. จิตปรมัตถ์-----------38
-๓.๑ ความหมายจิตปรมัตถ์-----------38
-๓.๒ ชื่อของจิต-----------41
-๓.๓. ลักษณะอาการของจิต-----------43
-๓.๔. ส่วนประกอบ การรู้อารมณ์ และผลงานหลักของใจ-----------45
บทพิสูจน์ การเห็นดวงใจตนเอง-----------50
๓.๕. จิตกับอารมณ์-----------51
๓.๖. การเกิดดับของจิต-----------53
บุญบาปเกิดขึ้นได้อย่างไร-----------54
๓.๗. ที่อาศัยเกิดและขั้นตอนการรู้อารมณ์ของจิตที่สัมพันธ์กับสมอง-----------56
๓.๘ อำนาจอันวิจิตรของจิต-----------63
๓.๙. ประเภทของจิต-----------65
ภาพจิต 89 / 121 ดวง-----------67
บทที่ ๓ กามาวจรจิต ๕๔
๑. ความหมายของกามาวจรจิต-----------71
๒. ประเภทของกามาวจรจิต-----------73
๒.๑. กามาวจรจิตกลุ่มที่ ๑ อกุศลจิต ๑๒
-๑. ความหมายของอกุศล-----------75
-๒. ระดับชั้นของกิเลส-----------76
-๓. สาเหตุให้เกิดอกุศลจิต-----------78
-๔. ประเภทของอกุศลจิต-----------80
๑.โลภมูลจิต ๘-----------81
๑.๑. เหตุเกิดโลกมูลจิต-----------83
๑.๒.โลภมูลจิต ๘ ประเภท-----------85
๑.๓. ความหมายของธรรมที่ประกอบกับโลภมูลจิต-----------87
สาเหตุให้เกิดความเห็นผิด-----------88
๑.๔ ลักษณะโลภมูลจิตแต่ละดวง-----------90
๑.๕. สาเหตุให้เกิดองค์ประกอบของความโลภแต่ละชนิด-----------97
๑.๖. พฤติกรรมที่เกิดจากความโลภ-----------99
๑.๗. ผลของความโลภ-----------101
นิทานประกอบ-----------102-105
๑.๘ ตัวอย่างชื่ออกุศลในกลุ่มโลภมูลจิต-----------105
๒. โทสมูลจิต ๒-----------108
๒.๑. โทสมูลจิต ๒ ประเภท-----------108
๒.๒. สาเหตุให้เกิดโทมนัสและปฏิฆะ มี ๕ ประการ-----------111
๒.๓. พฤติกรรมที่เกิดจากโทสะ-----------113
๒.๔. ผลที่เกิดจากโทสะ-----------113
๒.๕. ตัวอย่าง ออกุศลกลุ่มโทสมูลจิต-----------115
๓.โมหมูลจิต ๒-----------116
๓.๑. โมหมูลจิต ๒ ประเภท-----------116
๓.๒. สาเหตุให้เกิดจิตหลง-----------120
๓.๓ พฤติกรรมที่เกิดจากโมหะ-----------120
๓.๔. ผลที่เกิดจากจิตหลง-----------121
๓.๕. ชื่ออกุศลกลุ่มโมหมูลจิต-----------122
๕. ธรรมะที่ละอกุศลจิต-----------122
๒.๒. กามาวจรจิตกลุ่มที่ ๒ อเหตุกจิต ๑๘
๑. ความหมายของอเหตุกจิต-----------129
๒. ประเภทของอเหตุกจิต-----------130
ความหมายของวิบาก-----------130
วิบากจิตทําหน้าที่ ๗ อย่าง-----------133
๑. อกุศลวิปากจิต ๗-----------135
๑.๑. การส่งผลของอกุศลกรรม-----------137
๑.๒. ประโยชน์ของการเรียนรู้เรื่องอกุศลวิบากจิต-----------138
๒. อเหตุกกุศลวิปากจิต ๘-----------138
ประโยชน์ของการเรียนรู้เรื่องอเหตุกกุศลวิบากจิต-----------144
๓. อเหตุกกิริยาจิต ๓-----------145
ประเภทของการยิ้มและหัวเราะ-----------148
๓. อุปัติเหตุแห่งจิต-----------149
๔. สรุป อเหตุกจิต ๑๘-----------152
๒.๓. กามาวจรจิตกลุ่มที่ ๓ กามาวจรโสภณจิต ๒๔
ความหมายและประเภทของกามาวจรโสภณจิต
๑. มหากุศลจิต-----------158
วิธีทําให้เห็นบุญ-----------160
-๑.๑ เหตุให้เกิดมหากุศล-----------161
-๑.๒ มหากุศลจิต ๘ ประเภท-----------162
-๑.๓ สาเหตุให้เกิดมหากุศลโสมนัส-----------164
-๑.๔. สาเหตุให้เกิดมหากุศลอุเบกขา-----------164
-๑.๕. เหตุให้เป็นผู้มีปัญญา-----------167
-๑.๖. จัดมหากุศลจิตตามอารมณ์ ทวาร และบุญกิริยาวัตถุ-----------173
-๑.๗. วิธีทำเจตนา ๓ ให้บริบูรณ์-----------181
๒. มหาวิปากจิต ๘-----------185
-๒.๑. การให้ผลของกุศลจิต-----------185
-๒.๒. ธรรมเครื่องกำหนดนิสัย-----------187
๓. มหากิริยาจิต ๘-----------189
-๓.๑. กิริยาจิตมี ๒ ประเภท-----------189
-๓.๒. มหากิริยาจิตที่เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนา-----------190
-๓.๓. มหากิริยาจิตกับการประกอบด้วยปัญญา-----------191
สรุปกามาวจรโสภณจิต จิตคิดทางดีระดับกามภูมิ-----------192
บทที่ ๔ มหัคคจิต
๑. ความหมายและประเภทของมหัคคตจิต-----------194
๒. ความหมายและประเภทของรูปาวจรจิต-----------194
๑. รูปาวจรจิต ๑๕-----------194
-๑.๑ รูปาวจรกุศลจิต ๕-----------195
ตารางแสดงการเปรียบเทียบองค์ฌานหมวด ๔ และ หมวด ๕-----------197
การฝึกสมาธิแบบสบายเพื่อการได้ฌาน ๓ วิธี-----------197
-๑.๒. รูปาวจรวิบากจิต ๕-----------199
-๑.๓. รูปาวจรกิริยาจิต ๕-----------201
๓. ความหมายและประเภทของอรูปาวจรจิต-----------202
๒. อรูปาวจรจิต ๑๒-----------202
-๒.๑. อรูปาวจรกุศลจิต ๔-----------202
-๒.๒. อรูปาวจรวิบากจิต ๔-----------204
-๒.๓. อรูปาวจรกิริยาจิต ๔-----------205
๔. บุคคล ๔ ประเภท ทำฌานกุศลให้เกิดได้-----------205
๕. ฌานในตัวและฌานนอกตัว-----------206
บทที่ ๕ โลกุตตรจิต ๘
๑. ความหมายของโลกุตตรจิต-----------210
๒. ประเภทของโลกุตตรจิต-----------210
-๑. มรรคจิต ๔-----------210
-๒. ผลจิต ๔-----------211
สรุปเรื่องจิตปรมัตถ์-----------213
บทบรรณานุกรม