บุพพกรณ์บุพพกิจในการกระทำอุโบสถกรรมและปวารณากรรม

วันที่ 27 ธค. พ.ศ.2562

บุพพกรณ์บุพพกิจในการกระทำอุโบสถกรรมและปวารณากรรม

 


      ปุพฺพกิจฺจํ กาตพฺพํ โหติ ตณฺฐานสมฺมชฺชนญฺจ ตตฺถ ปทีปุชฺชลนญฺจ อาสนปญฺณปนญฺจ ปานียปริโภชนียูปฏฺฐปนญฺจ ฉนฺทารหานํ ภิกฺขูนํ ฉนฺทาหรณญฺจ เตสญฺเญว

 

      อุตุกฺขานญฺจ ภิกฺขุคณานา จ ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ "ตตฺถ ปุริเมสุ จตูสุ กิจฺเจสุ อิทานิ สุริยาโลกสฺส อตฺถตาย ปทีปกิจฺจํ นตฺถิ อปรานิ ตีณิ" ภิกฺขูนํ วตฺตํ ชานนฺเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกฺขูหิปิ กตานิ ปรินิฏฺฐิตานิ โหนฺติ ฉนฺทาหรณปาริสุทฺธิอาหรณานิ ปน อิมิสฺสํ พทฺธสีมายํ หตฺถปาสํ วิชหิตฺวา นิสินฺนานํ ภิกฺขุนํ อภาวโต นตฺถิ อุตุกฺขานํ นาม เอตฺตกํ อติกฺกนฺตํ เอตฺตกํ อวสิฏฺฐนฺติ เอวํ อุตุอาจิกฺขนํ อุตูนีธ ปน สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานานํ วเสน ตีณิ โหนฺติ อยํ "เหมนฺโตตุ, " (นี้เป็นเหมันตฤดู ฤดูหนาว, ถ้าเป็นคิมหฤดู ฤดูร้อน "คิมโหตุ," ถ้าวัสสานฤดู ฤดูฝนว่า "วสฺสาโนตุ,") อิมสฺมิญฺจ อุตุมฺหิ "อฏฺฐ อุโปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต สตฺต อุโปสถา อวสิฏฺฐา” อิติเอวํ สพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ อุตุกฺขานํ ธาเรตพฺพํ ฯ (รับพร้อมกันว่า) "สาธุ"

*******************************************

ถ้าวันอุโบสถ ให้ว่าบรรทัดบน วันปวารณา ว่าบรรทัดล่างทุกแห่งไป ฯ
ศัพท์บาลีในภายในเลขในนั้น " " เป็นอุโบสถกลางวัน ถ้ากลางคืนให้ยกศัพท์บาลินั้นออกเปลี่ยนว่า ตตฺถ ปุริมานิ จตฺตาริ"
ศัพท์บาลีในเลขในดังนี้ " " นั้น เป็นข้อความว่าด้วยเปลี่ยนอุโบสถ และบอกอธิกมาสพึงดูวิธีเปลี่ยนอุโบสถข้างหน้าฯ

*******************************************

     ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาสํ นตฺถิตาย นตฺถิ อิติ สกรโณกาสานํ ปุพฺพกิจฺจานํ กตตฺตา นิกฺกร โณกาสานํ ปุพฺพกิจฺจานํ ปกติยา ปรินิฏฺฐิตตฺตา เอวนฺตํ นววิธํ ปุพฺพกิจฺจํ ปรินิฏฺฐิตํ โหติ นิฏฺฐิเต จ ปุพฺพกิจฺเจ สเจ โส ทิวโส จาตุทฺทสี ปณฺณรสี สามคฺคีนมญฺญตโร ยถาชฺชุโปสโถ จาตุทฺทโส (นี้เป็นวันอุโบสถที่ ๑๔ ถ้าเป็นวันอุโบสถที่ ๑๕ และวันปวารณาที่ ๑๕ ว่า)

     ตโต วา อติเรกา ปกตตฺตา ปาราชิกํ อนาปนฺนา สงฺเฆน วา อนุกฺขิตฺตา เต จ โข หตฺถปาสํ อวิชหิตฺวา เอกสีมายํ ฐิตา เตสญฺจ วิกาลโภชนาทิวเสน วตฺถุสภาคาปตฺติโย เจ น วิชฺชนฺติ เตสญฺจ หตฺถปาเส หตฺถปาสโต พหิ กรณวเสน วชฺเชตพฺโพ โกจิ วชฺชนียปุคฺคโล เจ นตฺถิ เอวนฺตํ

       ถ้าภิกษุผู้สวดแก่กว่าสงฆ์ในชุดนั้นทั้งหมด ก็ไม่ต้องกล่าวคำเผดียงนั้นสวดได้ทีเดียว แต่ก่อนที่จะสวดพึงตั้งนะโม ๓ จบ แล้วเริ่มสวดพระปาฏิโมกข์หรือปวรณาต่อตามแบบฯ

       "สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส ฯลฯ ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิเสยุย" (จบญัตติ)

       คำว่า "ภนฺเต" ในญัตตินั้น ถ้าผู้สวดแก่พรรษากว่าสงฆ์ในที่ประชุมนั้นทั้งหมด พึงเปลี่ยนเป็น "อาวุโส" แทนดังนี้ "สุณาตุ เม อาวุโส" และ ถ้าเป็นวัน ๑๔ ค่ำ ให้ใช้ "จาตุทฺทโส" แทน "ปณฺณรโส" ต่อจากนี้ไม่มีที่เปลี่ยนแปลง สวดตามแบบในพระปาฏิโมกข์ได้ตลอดจนจบ "อวิวทมาเนติ สิกฺขิตพพฺนติ (สงฆ์พึงรับพร้อมกันว่า) "สาธุ" เป็นเสร็จพิธีทำอุโบสถ ฯ

 

วิธีเปลี่ยนคำมคธในวันอุโบสถ ดังต่อไปนี้

       ฤดูปกติ ๘ อุโบสถ
       ถ้าเป็นอุโบสถที่ ๑ คือยังไม่มีอุโบสถล่วงเป็นปัจจุบัน ๑ ยังเหลืออยู่อีก ๗ อุโบสถ ให้ว่าดังนี้
       อฏฺฐ อุโปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต สตฺต อุโปสถา อวสิฏฺฐา
       ถ้าเป็นอุโบสถที่ ๒ คือล่วงไปแล้วอุโบสถ ๑ ปัจจุบัน ๑ ยังเหลืออยู่อีก ๖ อุโบสถ ให้เปลี่ยนว่า
       “อฏฺฐ อุโปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต เอโก อุโปสโถ อติกฺกนฺโต ฉ อุโปสถา อวสิฏฺฐา"
       เทฺว อุโปสถา อติกฺกนฺตา ปญฺจ อุโปสถา อวสิฏฺฐา
       ตโย อุโปสถา อติกฺกนฺตา จตฺตาโร อุโปสถา อวสิฏฺฐา
       จตฺตาโร อุโปสถา อติกฺกนตา ตโย อุโปสถา อวสิฎฺฐา
       ปญฺจ อุโปสถา อติกฺกนฺตา เทฺว อุโปสถา อวสิฏฺฐา
       ฉ อุโปสถา อติกฺกนฺหา เอโก อุโปสถา อวสิฏฺโฐ

       นี้คือล่วงแล้ว ๒-๓-๔-๕-๖ อุโบสถปัจจุบัน ๑ ยังเหลืออยู่ ๕-๔-๓-๒-๓ ถ้าล่วงแล้ว ๗ อุโบสถ ปัจจุบัน ๑ รวมเป็น ๘ อุโบสถบริบูรณ์ ให้เปลี่ยนว่า
       "สตฺต อุโปสถา อติกฺกนฺตา อฏฺฐ อุโปสถา ปริปุณฺณา" ๆ
       ถ้าฤดูที่มีอธิกมาส อุโบสถที่ ๑ ให้เปลี่ยนว่า
       "อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต นว อุโปสถา อวสิฏฺฐา”
       อุโบสถที่ ๒-๓ ต่อๆ ไป ก็ให้เปลี่ยนโดยนัยอันเดียวกันกับฤดูที่ไม่มีอธิกมาส ต่างแต่ต้องเติมคำว่า "อธิกมาสวเสน" เข้าทุกครั้งเท่านั้น ๆ
       ถ้าฤดูฝน คือตั้งแต่เข้าพรรษาแล้ว มีปวารณา อุโบสถที่ ๑ ให้เปลี่ยนว่า "สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต ฉ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺฐา"
       ถ้าอุโบสถที่ ๒ คือ ล่วงไปแล้วอุโบสถ ๑ ปัจจุบัน ๑ ยังเหลืออีก ๖ อุโบสถ ให้เปลี่ยนว่า
       "สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต เอโก อุโปสโถ อติกฺกนฺโต ปญจ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺฐา"
       ถ้าล่วงแล้ว ๕ อุโบสถ ปัจจุบัน ๑ แต่เป็นวันปวารณา (คือวันเพ็ญ เดือน ๑๑ ออกพรรษา) ยังเหลืออีก ๒ อุโบสถ ให้เปลี่ยนว่า
       "สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อิมินา ปกฺเขน เอกา ปวารณา สมฺปตฺตา ปญฺจ อุโปสถา อติกฺกนฺตา เทฺว อุโปสถา อวสิฏฺฐา"
       ถ้าเป็นวันอุโบสถสุดท้ายที่ ๘ คือล่วงแล้ว ๖ อุโบสถ ปวารณา ๑ (รวมเป็น ๗) อุโบสถปัจจุบัน ๑ ให้เปลี่ยนว่า
       "สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโก สมฺปตฺโต ฉ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อติกฺกนฺตา สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา ปริปุณณา" ฯ

 

อันตรายแห่งอุโบสถ ๑๐ อย่าง

       เมื่อเกิดมีขึ้นแล้ว แต่ข้อใดข้อหนึ่งเป็นเหตุให้สวดปาฏิโมกข์ย่อได้
       ๑. ราชนฺตราย        พระราชาเสด็จมา
       ๒. โจรนฺตราย        โจรมาปล้น
       ๓. อคฺคฺยนฺตราย     ไฟไหม้
       ๔. อุทกนฺตราย      น้ำท่วม, หรือสวดกลางแจ้งฝนตก เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อหนีฝนได้
       ๕. มนุสุสนตราย    คนมามากเลิกเพื่อจะรู้เหตุ หรือเพื่อทำปฏิสันถาร
       ๖. อมนุสสนุตราย  ผีเข้าภิกษุ
       ๗. พาลนตราย      สัตว์ร้ายมีเสือเป็นต้นเข้ามา
       ๘. สิริสปฺปนฺตาย    งูร้ายเข้ามา
       ๙. ชีวิตนตราย      ภิกษุเป็นไข้
       ๑๐.พรหมจริยนตราย เช่นมีคนมาจับภิกษุ ฯ ถ้าไม่มีอันตราย สวดย่อต้องทุกกฎ ฯ


อุทเทสโดยย่อมี ๕

       นิทานุทเทส ๑ ปาราชิกุทเทส ๑ สังฆาทิเสสุทเทส ๑ อนิยตุทเทส ๑ วิตถารุทเทส ๑ ฯ อุทเทสหลังสงเคราะห์ นิสสัคคิยุทเทส ๑ ปาจิตติยุทเทส ๑ ปาฏิเทสนียุทเทส ๑ เสขิยุทเทส ๑ สมถุทเทส ๑ โดยพิสดาร ๙ อุทเทส ฯ
       เมื่ออันตราย ๑๐ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดมีขึ้น พึงสวดปาฏิโมกข์โดยย่ออุทเทสใดสวดค้างอยู่ อันตรายมีมา แม้อุทเทสนั้นให้พึงประกาศย่อเอาด้วยสุตบท แต่นิทานุทเทสสวดยังไม่จบ อย่าพึงประกาศย่อด้วยสุตบท พึงสวดเสียให้จบอุทเทสก่อน นอกนั้นพึงประกาศเอาด้วยสุตบท เมื่อไม่มีอันตรายพึงสวด วิตถารุทเทสคือสวดโดยพิสดารจนจบ ๆ


 

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.021828802426656 Mins