เมื่อเรากล้าหันกลับไปมองปัญหาที่เกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนาในประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา เราจะพบว่า เกิดปัญหาการลดจำนวนของพระภิกษุและสามเณร
...อ่านต่อ
 ดังที่เราทราบเป็นอย่างดี บุคคลในพระพุทธศาสนานั้นมีอยู่๒ ประเภท คือ คฤหัสถ์และบรรพชิต บุคคลทั้ง ๒ ประเภทนี้ต่างพึ่งพาอาศัย
...อ่านต่อ
 ในกรณีของพระภิกษุเอง ความเคารพที่พึงมีในพระรัตนตรัยคือ ความเคารพในพระพุทธเจ้า   พระธรรม พระสงฆ์
...อ่านต่อ
เราอาจจะมีความคิดว่า ถ้าพระภิกษุสงฆ์ทานมีข้อวัตรปฏิบัติ ที่ดีงดงาม น่าเลื่อมใส พุทธศาสนิกชนก็คงจะหันมามีทัศนคติที่ดีต่อ พระภิกษุสงฆ์และพระพุทธศาสนา
...อ่านต่อ
สืบเนื่องจากภาพในด้านลบของพระพุทธศาสนา วัดวาอารามรวมถึงพระภิกษุสงฆ์ ที่ปรากฏแก่สายตาพุทธศาสนิกชนในรูปแบบต่าง ๆ เป็นผลทำให้ทัศนคติ
...อ่านต่อ
หากเรายังจำได้ถึงสาเหตุ ๕ ประการ ที่นำมาซึ่งความเสื่อมและความเจริญของพระพุทธศาสนา ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในข้างต้นได้แก่
...อ่านต่อ
  เพื่อให้เราได้เห็นแนวทางของครูต้นแบบอย่างเป็นรูปธรรม จึงขอยกตัวอย่างกิจวัตรของพระสารีบุตร
...อ่านต่อ
อย่างไรก็ตาม เว้นพระบรมโพธิสัตว์ผู้ตั้งความปรารถนาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือผู้ที่ตั้งความปรารถนาเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
...อ่านต่อ
  ดังที่ได้กล่าวไว้ในข้างต้นว่า ก่อนที่จะเสด็จดับขันธปรินิพพานพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามิได้ทรงแต่งตั้งพุทธสาวกรูปใดเป็นศาสดาแทนพระองค์
...อ่านต่อ
ในหัวข้อที่ผ่านมา เป็นการพูดถึงการฝึกฝนอบรมตนเองและรักษาพระธรรมวินัยของคณะสงฆ์ตั้งแต่ครั้งโบราณกาล
...อ่านต่อ
  สามัญญผลสูตร เป็นพระสูตรที่ว่าด้วย ผลของความเป็นสมณะ คือ ประโยชน์ที่จะได้จากการดำรงเพศเป็นสมณะ
...อ่านต่อ
ในลำดับนั้นเอง พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสามัญญผลที่ละเอียดประณีตยิ่งขึ้น จนถึงขั้นสูงสุด อันได้แก่
...อ่านต่อ
   สามัญญผลเบื้องกลาง คือ อานิสงส์หรือผลดีที่ภิกษุได้รับจากการเจริญสมาธิภาวนา กล่าวคือ เมื่อภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
...อ่านต่อ
  ผู้ที่บวชเข้ามาในพระพุทธศาสนา มิใช่บวชเพราะถูกบังคับแต่เป็นเพราะมีศรัทธาในพระธรรม และมีปัญญาไตร่ตรองถึงสภาวะอันแท้จริงของชีวิตก่อนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าจะตรัสถึง สามัญญผลเบื้องกลางพระองค์ได้ตรัสถึงข้อวัตรปฏิบัติที่พึงกระทำ รวมถึงข้อที่พึงละเว้น
...อ่านต่อ
 ในปลายสมัยพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับ ณ สวนอัมพวันของหมอชีวกโกมารภัจจ์ ในเขตกรุงราชคฤห์ เมืองหลวงของแคว้นมคธ ครั้งนั้นพระเจ้าอชาตศัตรู พระเจ้าแผ่นดินแคว้นมคธ ได้เสด็จไปเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อกราบทูลถามปัญหา
...อ่านต่อ
   เมื่อเราทราบแล้วว่า พระสงฆ์คือใครและมีความสำคัญต่อความเสื่อมและความเจริญของพระพุทธศาสนาอย่างไร
...อ่านต่อ
  เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพานราว ๑๐๐ ปี พระพุทธศาสนาได้แบ่งออกเป็น ๒ นิกาย คือ เถรวาท และมหาสังฆิกะ หลังจากนั้นอีกราว ๑๐๐ ปี
...อ่านต่อ
 ในแง่ของการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ดังที่ปรากฏในพระธรรมเทศนาของพระมงคลเทพมุนี กัณฑ์ที่ ๑ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ซึ่งในส่วนของ พระสังฆคุณ ท่านได้กล่าวไว้โดยมีใจความสำคัญดังต่อไปนี้
...อ่านต่อ
ในพระสุตตันตปิฎกและพระวินัยปิฎก เราจะพบคำคำหนึ่งอยู่เสมอ คือคำว่า อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ (อิธ อริยสาวโก)
...อ่านต่อ
 ก่อนอื่นเรามาดูความหมายของคำว่า พระสงฆ์ กันก่อน ซึ่งโดยทั่วไป เรามักพบเห็นคำว่า ๑) พระภิกษุ (ภิกฺขุ) และ ๒) พระสงฆ์(สงฺโฆ)
...อ่านต่อ
   จากปัญหาในเรื่องการลดจำนวนลงของศาสนทายาท คือพระภิกษุสงฆ์และสามเณร รวมถึงความห่างเหินในเรื่อง
...อ่านต่อ


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล