วิวัฒนาการ การสร้างวัด ตอนที่ ๓

วันที่ 17 พค. พ.ศ.2560

วิวัฒนาการ การสร้างวัด ตอนที่ ๓,วาไรตี้,บทความประจำวัน

 

วิวัฒนาการ การสร้างวัด ตอนที่ ๓

     ด้งนั้น การศึกษาเรื่องราวของ "วัดอัมพาฏกวัน" นี้เอง ทำให้ได้เห็นภาพการเจริญเติบโตของพระพุทธศาสนาจากจุดหนึ่งขยายตัวไปล่อีกหลายๆ จุดได้อย่างชัดเจน นั่นคือ การเรื่มต้นจากศรัทธาของ "จิตตคฤหบดี" ที่มีต่อ "พระมหานามะ" ได้นำไปสู่การถวายอุทยานเป็นลังฆาราม ก่อกำเนิด "วัดเพื่อการศึกษาประจำท้องถิ่น" หลังจากนั้นได้กลายเป็น "ศูนย์ผลิตธรรมทายาท"ให้เกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา ก่อนจะกลายมาเป็น "ชุมทางพระอรหันต์" ไปโดยปริยาย
    ด้วยฝีมือการพัฒนาวัดเช่นนี้เอง พระบรมศาสดาจึงทรงประกาศยกย่องท่านไว่้ในฐานะของ "อุบาสกผู้เลิศด้วยการแสดงธรรม" นับเป็นเกียรติประวัติสูงสุดในชีวิตของท่าน ชาวพุทธทุกแว่นแคว้น จงยึดเอาจิตตคฤหบดีเป็นบุคคลต้นแบบในการเลี้ยงดูบุตรหลาน เพี่อช่วยกันสร้าง "ชาวพุทธรุ่นใหม่" ให้มีดวามสามารถใน "การสร้าง-บริหาร-ดูแลรักษาวัด" ที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน ให้กลายเป็น "วัดเพื่อการศึกษาอันเป็นสถานที่ชุมนุมของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ" เหมีอนกับวัดอัมพาฏกวันของจิตตคฤหบดี อุบาสกผู้เลิศด้วยการแสดงธรรม นั่นเอง

๓.วัดเพี่อการบรรลุธรรม
 วัดเพื่อการบรรลุธรรม โบราณเรียกว่า "อรัญญวาสิ" หรือ"วัดป่า" หมายถึง วัดที่สร้างขึ้นเพี่อใช้เป็น "สถานที่บำเพ็ญภาวนาในป่า" มีบรรยากาศเงียบสงบ ร่มรื่น มีสถานที่หลีกเร้นเหมาะแก่การป่าเพ็ญภาวนาอยู่ในป่าตลอดทั้งกลางวันทั้งกลางคึน
      คำว่า "อรัญวาสิ" (อะ-ร้น-ยะ-วา-ลี) ในพจนานุกรมเพี่อการดีกษาพุทธศาสตร์ฉบับ "คำวัด" ของ พระธรรมกิตติวงต์ (ทองดี สุรเตโช ปธ.๙, ราชบัณฑิต) ได้ให้ความหมายไว้ว่า อรัญวาสิ แปลว่า ผู้อยู่ในป่า ผู้อยู่ประจำในป่า
     อรัญวาสี เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่ง ซึ่งตั้งวัดอยู่ในป่าห่างชุมชน เรียกว่า คณะอรัญญวาสิ คู่กับ คณะคามวาสิซึ่งตั้งวัดอยู่ในชุมชน
     อรัญวาสีปัจจุบันหมายถึง ภิกษุที่พำนักอยู่ในป่าหรีอที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า พระป่า ซึ่งมีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางวิปัสสนาธุระคืออบรมจิตเจริญปัญญา นุ่งห่มด้วยผ้าสีปอนหรือสีกรัก มุ่งการปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่เป็นหลัก ไม่เน้นงาน
ด้านการบริหารปกครอง การคืกษาพระปริยัติธรรม และสาธารณปการหรีอการก่อสร้างพัฒนาวัด
วัตถุประสงค์หลักของการสรัางวัดป่า คือ
๑) เพื่อเป็นสถานที่บำเพ็ญภาวนาของพระภิกษุผู้ยังไม่สิ้นอาสวะกิเลส
๒) เพื่อเป็นสถานที่บำเพ็ญเพียรของพระภิกษุที่ถือธุดงครัดตลอดชีวิต
๓) เพื่อเป็นสถานที่จำพรรษาของพระอรฟ้นค์ที่เดินทางไปเผยแผ่ในด่างแครัน (ดินแดนที่ยังไม่มีศรัทธาบังเกิดขึ้น)
๔) เพื่อเป็นสถานที่หลีกเรันบำเพ็ญภาวนาของพระอรฟ้นค์ผู้บริหารการคณะสงฆ์

    สำหร้บวัตถุประสงค์ข้อที่ ๙ นั้น แม้แต่พระบรมศาสดาและพระอรหันต์เถระในครั้งพุทธกาล ก็ยังต้องหลีกออกเร้นความจุ่นวายอยู่ในปาตามสำพังเช่นกัน ทั้งนี้เพราะงานบริหารการคณะสงฆ์เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการประชุมและการต้อนรับแขกตลอดทั้งวันและต่อเนื่องนับแรมเดือนแรมปี ซึ่งมักต้องเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาความดื้อด้านเอาแต่ใจของมนุษย์ที่ยังเป็นปุถุชนอยู่ทั้งที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ ซึ่งมีมากมายหลายกลุ่ม
   

   การตรากตรำกรำงานโดยไม่มีเวลาพักอย่างคนทั่วไป เพราะต้องเร่งทำงานให้ทันกับความต้องการของ

ส่วนรวมเป็นใหญ่ ทำให้ร่างกายเกิดอาการสะสมสารพิษตกค้างโดยไม่รู้ต้ว กว่าจะรู้อีกทีก็ล้มป่วยเสียแล้ว

ซึ่งมีสาเหตุใหญ่ ๒ ประการ ได้แก่

(๑) อายุสังขารที่ร่วงโรยไปตามวัย
(๒) อิริยาบถ ๔ ไม่สมดุลตลอดทั้งวัน เช่น นั่ง นอน ยืน
เดินไม่สมดุล


    ดังนั้น การได้หลีกออกเร้นป่าเพ็ญภาวนา จะช่วยให้จิตใจมีความบริสุทธิ์เป็นพิเศษ ร่างกายมีความสะอาดเป็นพิเศษ ในคัมภีร์มีบันทึกไว้ว่า เลือดของคนเราจะบริสุทธิ์ได้ ก็ต่อเมื่อใจบริสุทธิ์ เมื่อเลีอดบริสุทธิ์ อินทรีย์ (ร่างกาย) ก็จะผ่องใส เพราะมีเวลาให้ร่างกายกำจัดสารพิษตกค้างให้หมดไปและฟื้นฟูความสดชื่นกระปรี้กระเปร่าให้กลับคืนมาอีกครั้ง สังขารก็จะยืดอายุการใช้งานออกไปได้อีกหลายปี การประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้มั่นคงก็จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระยะยาวมากยิ่งขึ้น
    การสร้างวัดป่า มักนิยมสร้างเป็นกุฏิที่พักขนาดเล็ก พอใช้กันแดดกันลมกันฝนอยู่จำพรรษาได้ ตั้งอยู่ในปาใกล้เชิงเขา บางแห่งก็สร้างถวายเป็นวิหารที่พักไวในปาใหญ่ บางแห่งไม่มีการสร้างอาคาร แต่อาด้ยอยู่ในถํ้า ชอกเขา เงื้อมเขาแทนกุฏิหรือวิหาร 
   ในสมัยพุทธกาลนั้น บุคคลที่สร้างวัดปาส่วนใหญ่ได้แก่"หัวหน้าหมู่บ้าน" หรือ "ชาวบ้านที่มีศรัทธา" ถ้าเป็นหัวหน้าหมู่บ้านก็จะใช้กำลังทรัพย์และกำลังบริวารของตัวเอง เป็นเรี่ยวแรงในการสร้างวิหารไวัในปา จากนั้นก็จะนำปัจจัย ๔ ไปถวายอุปัฏฐากพระภิกษุถึงที่วัดตลอดทั้งพรรษา แต่ถ้าเป็นชาวบ้านก็จะอาศัยกำลังของตัวเองเพียงลำพังในการสร้างกุฏิที่พักไว้ในปา จากนั้นจะนิมนต์ให้มารับบิณฑบาตที่บ้านในเวลาเช้า บางคนก็นิมนต์พระภิกษุให้ฉันที่บ้าน บางคนก็ใส่บาตรให้พระภิกษุนำกลับไปฉันที่วัด หลังจากพระภิกษุฉันเสร็จแล้ว ก็จะนั่งปาเพ็ญภาวนาในที่หลีกเร้น ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน บรรยากาศในวัดปาจึงไม่มีการประชุมรวมคนในหมู่บ้านเพื่อทำบุญและฟ้งธรรมมีแต่บรรยากาศของการปาเพ็ญภาวนาอย่างเงียบสงบตลอดวันเพราะ
พระภิกษุต้องการใช้วันเวลาในวัดปาตลอดทั้งพรรษาให้หมดไปกับการกำจัดอาสวะกิเลสภายในให้หมดสินไปอย่างรวดเร็วที่สุดซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของการมาจำพรรษาอยู่ในป่านั่นเอง


วัดป่ามาติกคาม

สังฆารามเพี่อการบรรลุอรหัตผล

    พระภิกษุ ๖๐ รูป หลังจากเรียนกรรมฐานจากสำนักของพระบรมศาสดาแล้ว ก็พากันตระหนักว่า การจะติดตามรอยบาทของพระบรมศาสดาได้นั้น มิสามารถกระทำได้ด้วยการเดินตามพระพุทธองค์ไปทุกที่ทุกสถาน แต่จะติดตามไปได้ด้วยการปาเพ็ญภาวนาจนกระทั่งบรรลุเป็นพระอรหันต์ จึงตัดสินใจเดินทางไปแสวงหาวัดปาในชนบทเพื่อจำพรรษา (การปาเพ็ญเพียรในปาตามสำพัง พระบรมศาสดาจะทรงอนุญาตใหไปได้ ก็ต่อเมื่อภิกษุรูปนั้นได้บรรลุปฐมฌานเป็นอย่างน้อย

      ในบริเวณป่าใกล้เชิงเขาของแควันโกศลนั้น มีหมู่บ้านชื่อมาติกคาม เมื่อพระภิกษุทั้ง ๖๐ รูป เดินทางไปถึงที่นั่น มหาอุบาสิกาชื่อว่า "มาติกามาตา" ผู้เป็นมารดาของหัวหน้าหมู่บ้านนั้นเห็นหมู่สงฆ์แล้วเกิดศรัทธาเปียมล้น ได้กล่าวอาราธนาให้คณะสงฆ์อยู่จำพรรษาที่นั่น และประกาศตนเป็นพุทธมามกะ ยินดีรับพระรัตนตรัยเป็นสรณะ รับดีล ๕ ในวันธรรมดา ร้บดีล ๘ ในวันอุโบสถดีล และดูแลอุปัฏฐากด้วยปัจจัย ๔ พร้อมกับชาวบ้านตลอดพรรษา

       พระภิกษุทั้ง ๖๐ รูปปรึกษากันว่า "เมื่ออาศัยมหาอุบาสิกานี้จะไม่ลำบากด้วยภิกษา และจะสลัดตนออกจากภพได้" จึงตอบรับคำนิมนต์ มหาอุบาสิกามีจิตศรัทธาปลื้มปีติเป็นอย่างยิ่ง ได้ทำ ความสะอาดวิหารที่มีอยู่ก่อนนั้นแล้ว หลังจากนั้นก็ถวายเป็นลังฆารามลำหรับการอยู่จำพรรษาของคณะสงฆ์ในวันนันทันทีวิหารแห่งนั้นจึงกลายเป็นวัดปาประจำหมู่บ้านไปโดยปริยาย

      เมื่อมหาอุบาสิกากลับไปแล้ว พระภิกษุทั้ง ๖๐ รูป ก็ตกลงกันว่า "พวกเราจะแยกย้ายกันปลีกวิเวกในป่าตามลำพังไม่มีการสนทนาพูดคุยกัน และจะมาประชุมกันเฉพาะในเวลาปารุงพระเถระในตอนเย็นและเวลาบิณฑบาตในตอนเช้า หากมีภิจธุระนอกจากนั้นให้ตีระฆังเรึยกประชุมในท่ามกลางวิหาร" เมื่อตกลงกันเป็นเอกฉันท์แล้ว ก็แยกย้ายกันไปปาเพ็ญภาวนาในป่าตามอัธยาศัย

    วันหนึ่งในเวลาเย็น มหาอุบาสิกาถึอเภลัชทั้งหลาย มีเนยใสและนํ้าอ้อยเป็นต้น เดินทางมาที่วัดป่านั้น พร้อมกับทาสบริวารและผู้คนในหมู่บ้านที่แวดล้อมกันมาเป็นอันมาก แต่เมื่อมาถึงแล้วกลับไม่พบคณะสงฆ์อยู่ที่นั่น จึงสอบถามพวกบุรุษ ได้ทราบกติกาของคณะสงฆ์นั้นแล้ว ก็ให้บริวารตีระฆัง พระภิกษุแต่ละรูปเช้าใจว่ามีเหตุอันตรายเกิดขึ้น จึงรึบออกมาจากที่ปาเพ็ญเพียรของตน
      มหาอุบาสิกาเข้าใจว่า คณะสงฆ์แตกแยกต่างคนต่างอยู่ จึงสอบถามว่าทะเลาะเบาะแว้งกันด้วยเหตุอันใด แต่เมื่อสอบถามแล้วจึงได้ทราบความว่า คณะสงฆ์มิได้แตกแยก แต่แยกย้ายกันเจริญสมณะธรรมด้วยการพิจารณาความไม่งามของร่างกายเรียกว่า"อาการ ๓๒" นางจึงขอเรียนสมณะธรรมนั้นบ้าง พระภิกษุจึงให้นางเรียนวิธีบริกรรมภาวนาด้วยอาการ ๓๒ อย่างครบถ้วน

    จำเดิมนับตังแต่นัน มหาอุบาสิกาก็ตังใจบำเพ็ญภาวนาตามที่เรียนมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการตั้งจิตอยู่ในความสินไปและความเสือมไบํของตนตลอดต่อเนื่องทั้งวัน ไม่นานนักก็ได้เป็นผู้มี
กิเลสเบาบางใกล้หมดสิน คือบรรลุธรรมเป็นพระอนาคามี พร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ ๔ และโลกียอภิญญา ซึ่งเป็นการบรรลุโลกุตรธรรม ก่อนกว่าพระภิกษุทั้ง ๖๐ รูป

    หลังจากนั้น มหาอุบาสิกาได้ออกจากสุขในฌานที่ทำให้เป็นพระอนาคามี ตรวจดูด้วยทิพยจักษุว่า คณะสงฆ์ทั้ง ๖๐ รูป บรรลุคุณวิเศษใดบ้างหรีอไม่ หรีอมีอุปนิสัยแห่งอรหัตผลบ้างหรีอไม่ ก็พบว่ามีอยู่ จึงตรวจดูต่อไปว่า ยังมีสิงใดขาดตกบกพร่องในการอุปัฏฐากบ้างหรีอไม่ ก็พบว่าอาวาสเป็นที่สบายแล้ว ขาดแต่อาหารยังไม่เป็นที่สบาย จึงไม่อาจยังจิตให้บรรลุถึงแก่ความสิ้นอาสวะได้
ทั้งๆที่การบำเพ็ญเพียรมีอยู่ตลอดเวลากลางวันและกลางคืน
 
     มหาอุบาสิการู้วาระจิตของพระภิกษุทั้ง ๖๐ รูปแล้ว จึงนำอาหารที่พระภิกษุต้องการมาอุปัฏฐากให้อาหารเป็นที่สบาย ด้วยการถวายข้าวยาคูและอาหารเลิศรสต่างๆ ให้ถึงพร้อมทุกประการพร้อมทั้งกล่าวเชิญชวนให้บริโภคตามความชอบใจ เมือพระภิกษุเหล่านั้นได้อาหารเป็นที่สบายแล้วจิตก็มืธรรมชาติเป็นอารมณ์เดียวการปาเพ็ญเพียรก็ก้าวหน้าไปตามลำด้บอย่างรวดเร็ว ในที่สุดก็สิ้นกิเลสอาสวะ บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์

     พระภิกษุอรหันต์ทั้ง ๖๐ รูป ต่างร้สืกขอบคุณในมหาอุบาสิกายิ่งนัก เพราะหากไม่ได้อาหารเป็นที่สบายแล้ว การแทงตลอดในมรรคผลย่อมไม่บังเกิดขึ้น จึงตัดสินใจอยู่เป็นเนือนาบุญให้มหาอุบาสิกาและชาวหมู่บ้านที่นั่นจนครบพรรษา ผ่านพ้นวันปวารณาแล้ว อำ ลามหาอุบาสิกาแล้ว ก็เดินทางกลับไปเฝ็าพระบรมศาสดาที่วัดเชตวนาราม เมืองสาวัตถี

    พระบรมศาสดาตรัสถามสุขทุกข์ของพระภิกษุทั้ง ๖๐ รูปแล้วก็ได้รับการกราบทูลว่า ความเป็นอยู่ที่วัดปามาติกคามมิได้ลำบากด้วยบิณฑบาตแม้แต่วันเดียว ด้วยเพราะได้อาศัยมหาอุบาสิกาชื่อมาติกามาตา ผู้เป็นมารดาของหัวหน้าหมู่บ้าน ให้การอุปัฏฐากดูแลตลอดทั้งพรรษา ด้วยอำนาจแห่งการหยั่งรู้วาระจิต จึงได้ถวายอาหารเป็นที่สบาย ยังผลให้จิตหยุดนิ่งเป็นอารมณ์เดียว บรรลุธรรมาพิสมัยตามรอยบาทของพระพุทธองค์ไปได้ลำเร็จ

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.0010990659395854 Mins