ปัญหาวัดร้าง (ตอนที่ ๑ )

วันที่ 22 พค. พ.ศ.2560

 ปัญหาวัดร้าง,วาไรตี้,บทความประจำวัน

 ปัญหาวัดร้าง(ตอนที่ ๑)

 

    การที่วัดใดวัดหนึ่งจะร้างหรือไม่ร้าง การที่พระพุทธศาสนาจะรุ่งเรืองหรือตกต่ำ ก็ขึ้นอยู่กับว่า วัดๆ นั้นทำประโยชนให้แก่สังคมมากน้อยแค่ไหน โดยเฉพาะการเป็น "ผู้ให้ความเจริญด้านจิตใจด้วยกุตรธรรมแก่สังคม" อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของการสร้ไงวัดในพระพุทธศาสนามาตั้งแต่ครั้งพุทธกาล

๑. วัดที่ไม่มีวันร้าง
    ตามธรรมดาของคนเรานั้น เมื่อได้รับความสุขความเจริญในชีวิตจากใครแล้ว ก็ย่อมทำนุบำรุงรักษาบุคคลนั้นด้วยความกตัญญกตเวทีอย่างสุดชีวิตจิตใจ ดังคำโบราณกล่าวไว้ว่า

    "เมื่อเขาได้ด้วย เขาก็จะดีด้วย เมื่อเขาไม่ได้ด้วย เขาก็ไม่ดีด้วย"

   เพราะว่ามองไม่เห็นคุณคำอันใดอย่างเป็นรูปธรรมที่จะทำ ให้เกิดความศรัทธาน่าเลื่อมใสในตัวบุคคลนั้น ชึ่งก็สอดคล้องกับหลักการของการเป็น "ผู้ให้" ที่พระพุทธองค์

                            "ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนหมู่มาก" 

    นั่นก็หมายความว่า "วัดต้อง เป็นผู้ให้แก่สังคม" จึงจะเจริญรุ่งเรืองได้

          พูดง่ายๆ ก็คือ "วัดต้องให้ความอิ่มธรรม โยมจึงให้ความอิ่มท้อง" ทั้งสองฝ่ายต่างต้องเป็นอุปการะในการปิดหนทางนรก เปิดหนทางสวรรค์ เปิดหนทางพระนิพพานให้ซึ่งกันและกัน

            แต่การให้ของวัด จะแตกต่างจากการให้ของชาวโลก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการให้วัตธุลื่งของตามที่ชอบใจตามที่ปรารถนา แต่การให้ของวัด กลับเป็นการให้ในสิงที่ยิ่งกว่าวัตถุ นั่นคือ การให้โลกุตรธรรม ซึ่งมีคฺณวิเศษมหาศาลในการดับสารพัดทุกข์ในชีวิตไดัอย่างถอนรากถอนโคลน

           เนื่องด้วยเพราะ "โลกุตรธรรม" คือ "ป้ญญาดับทุกข์อันเกิดจากการบำเพ็ญภาวนาจนกระทั่งเข้าถึงพระ ร้ตนตรัยในตัว"

            เพราะเหตุนี้ ผู้ที่เข้าถึงพระรัตนตรัยในตัวได้นั้น ย่อมตัองมีที่พึ่งในการกำจัดทุกข์ได้จริง ด้งที่พระบรมศาสดาทรงให้โอวาทแก่นักบวชกลุ่มหนื่งซึ่งมีสาวกหลายหมื่นคน หัวหนัานักบวชนั้นเองเคยเป็นอดีตอำมาตย์ของพระราชาแห่งแคว้นโกศลถึงสองรัชกาลมีนามว่า "ปุโรหิตอัคคิหัต" แต่เนื่องด้วยไม่เข้าใจว่าสิงใดคือที่พึ่งในการดับทุกข์ที่แท้จริง จึงสั่งสอนให้สาวกของตน นับถือกราบไหว้ภูเขา ป่าไม้ อาราม ต้นไม้ ว่าเป็นสรณะในการกำจัดทุกข์พระพุทธองค์ทรงเห็นอุป่นิลัยแห่งอรหัตผล จึงทรงมีเมตตา เสด็จมาโปรดนักบวชกลุ่มนี้ถึงที่อยู่ด้วยพระองค์เอง

                   พระบรมศาสดาตรัสสั่งสอนนักบวชอัคคิทัตและคืษย์สาวกทั้งหนื่งหมื่นคนว่า

                  "มนุษย์จำนวนมาก ผู้ถูกภัยคุกคาม ต่างถึงภูเขา ปาไม้อาราม และๅกขเจดีย์เป็นสรณะ

                นั่นมิใช่สรณะอันเกษม นั่นมิใช่สรณะอันสูงสุด เพราะผู้อาภัยสรณะเช่นนั้น ย่อมไฝพ้นจากทุกข์ทั้งปวง

                ส่วนผู้ที่ถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นสรณะ ย่อมใช้ปัญญาชอบ พิจารณาเห็นอริยสัจ ๔ ประการคือ

                 ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความดับทุกข์ และอริยมรรคมีองค์๘ อันเป็นช้อปฏิบัติให้ถึงความสงบระงับทุกข์

              นั่นเป็นสรณะอันเกษม นั่นเป็นสรณะอันปีงสุด เพราะผู้อาดัยสรณะเช่นนั้น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้" 

              หลังจากจบพระธรรมเทศนา นักบวชอัคคิทัตและสาวกหนึ่งหมื่นคน ก็ได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอรหันต์ และก็กลายเป็นเรื่องราวตัวอย่างของการเข้าถึงพระรัตนตรัยภายใน จึงเป็นเหตุให้
ได้โลกุตรธรรมในตัว

              ด้วยเหตุนี้ การให้โลกุตรธรรม จึงเป็นการตอบแทนคุณข้าวปลาอาหารของญาติโยมได้อย่างยอดเยี่ยมที่สุด เพราะให้ความอิ่มธรรมที่นำไปส่ความพ้นทุกข์พ้นกิเลส ทำ ให้การถวายข้าวปลาอาหารในแต่ละมื้อ และการบำรุงเลี้ยงด้วยปัจจัย ๔ ต่างๆ ในแต่ละวัน เต็มไปด้วยบุญกุศลอย่างเต็มที่ แล้วญาติโยมก็ได้รับความสุขจากโลกุตรธรรมที่ได้ร้ปการแปงปันมาจากวัด

            ดังนั้น "วัดที่ไม่มีวันร้าง" ก็คือ วัดที่เป็นผู๊ให้โลกุตรธรรมแก่สังคม โดยมี "พระภิกษุผู้บำเพ็ญภาวนาด้วยความเคารพในธรรมยิ่งกว่าสิวิด" เป็นผู้ทำหน้าที่แจกจ่าย "โลคุตรธรรม" ให้แก่ประชาซน นั่นคือเหตุที่มาแห่งความเจริญรุ่งเรืองของวัดและของพระพุทธศาสนา ที่ทำ ให้วัดกลายเป็นสถานที่ดักดิสิทธิแห่งการบรรลุธรรมของชาวพุทธ เป็นสถานที่สิบทอดพระพุทธศาสนา เป็นสถานที่สิบทอดพระพุทธประสงค์ของพระบรมศาสดาที่จะช่วยชาวโลกให้พ้นทุกข์ไปอีกนานแสนนาน

๒. หน้าที่สำค้ญฃองว้ดต่อสังคม
     คุณค่าของวัดอยู่ที่ความดักดิสิทธิ แต่ความดักดิสิทธิของวัดไม่ไดัอยู่ที่การปลุกเสกเวทย์มนต์หรือใช้เล่ห์กลคาถา ไม่ได้อยู่ที่การดูดวง การแก้บน การใบ้หวย การเสิยงทาย เพราะการให้สิงเหล่านี้แก่ประชาชน เป็นการสร้างความดักดสิทธแบบหลอกๆ เป็นความดักดื้สิทธแค่เพียงชั่วครั้งชั่วคราวไม่นานก็จะต้องร้างไปเพราะยังเจือปนด้วยอาสวะกิเลส

   ความศักดิ์สิทธิ์ที่แท้จริงของวัดนั้น จืงอยู่ที่การให้ "พระธรรมคำสอน" ที่สามารถยกระดับจิตใจของผู้คนในสังคมนั้น ให้หลุดพ้นจากกิเลส มีความศรัทธาในพระรัตนตรัย เช้าถึงโลกุตรธรรมนี้จืงเป็นความศักดิ์สิทธิ์ธรรมของวัดนั้น

       "วัดที่มีความศักดิ์สิทธิ์โดยธรรม" นั้น จะต้องทำ "หน้าที่หลักของวัด ๒ ประการ" ได้แก่

        ประการที่ ๑ คือ การเป็นโรงเรียนสอนศีลธรรมให้กับประชาชนในท้องถิ่นนั้น

     ประการที่ ๒ คือ การเป็นบุญสถานลันสักดิสิทธเหมาะแก่การปรารภความเพียร เพื่อการบรรลุธรรมของประชาชนในท้องถิ่นนั้น

         วัดที่ทำหน้าที่หลักทั้งสองประการนี้ได้สมบูรณ์ ย่อมเป็นวัดที่มีความสักดี้สิทftดยธรรม เพราะทำหน้าที่แจกจ่ายโลกุตรธรรมให้แก่ลังคมได้จริง

         ด้วยเหตุนี้ การเปิดโรงเรียนสอนสืลธรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม ก็คือ การทุ่มเทแบ•ะนำสั่งสอนอบรมประชาชนให้เข้าถึงพระวัตนตวัยในต้ว อันเป็นทางดับทุกข์ให้กับชีวิต ดับทุกข์ให้แก่
สังคมนั่นเอง

       ประชาชนที่บำเพ็ญภาวนาจนเข้าถึงพระรัตนตรัยในตัวที่วัดนี้ย่อมให้ความเคารพลักการะสถานที่ ไวัในฐานะของดินแดนศักดิ์สิทธิ์แห่งการบรรลุธรรม เพราะตระหน้กดีว่าเป็นภาระหน้กอย่างยิ่งของทั้งพระภิกษุและเจ้าหน้าที่วัดทุกระดับ

           ดังนั้น วัดใดก็ตาม ที่ทั้งพระภิกษุและญาติโยมต่างก็เข้าถึงโลกุตรธรรม คือ การเข้าถึงพระรัตนตรัยในตัว วัดแห่งนั้นย่อมเป็นวัดที่สักดสิทธ เพราะทำให้พระพุทธศาสนาเกิดความมั่นคง มีอายุยืนยาว ไม่เสื่อมสูญจากพระสัทธรรม

๓. ความเกื้อกูลต่อพระพุทธศาสนาของพระภิกษุและญาติโยม

     ตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาลแล้ว พระล้มมาล้มพุทธเจ้าทรงชี้ให้เห็นตลอดมาว่า "วัด" เกิดขึ้นจากความเกื้อกูลช่วยเหลือกันของทั้งพระภิกษุและญาติโยม ดังที่ทรงประทานโอวาทไวัใน "พหุการสูตร" ว่า

    "คฤหัสถ์ผู้อยู่ครองเรือนและบรรพชิตผู้ไม่อยู่ครองเรือนทั้ง ๒ ฝาย ต่างอาศัยกันและกัน จึงบรรลุสัทธรรม อันเป็นแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมได้
     ฝ่ายบรรพชิตผู้ไม่อยู่ครองเรือนย่อมต้องการปัจจัย ๔คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานป็จจัยเภสัช อันเป็นเครื่องบรรเทาอันตรายจากฝายคฤหัสถ์

     ฝ่ายคฤหัสถ์ผู้อยู่ครองเรือน อาสัยพระอริยะผู้ปฏิบัติดีแล้ว เชื่อมั่นคำสังสอนและการปฏิบัติดีของพระอรหันต์เป็นผู้เพ่งพินิจอยู่ด้วยอริยปีญญา ประพฤติธรรมอันเป็นทางนำไปส่สุคติโลกสวรรค์ในอัตภาพนี้ มีความเพลิดเพลิน เสวยกามสุข รื่นเริงบันเทิงใจอยู่ในเทวโลก"

     พระพุทธโอวาทนี้ ได้แบ่งหน้าที่ของพระภิกษุและประชาชนในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างชัดเจน
     ประการที่ ๑ หน้าที่ของบรรพรดในวัดน้น คือ การให้โลกุตรธรรมแก่ประชาชนและตนเอง
   ประการที่ ๒ หน้าที่ของญาติโยมของวัดนั้น คือ การบำรุงแยงดนเอง ครอบครัว และพระ ภิกษุในวัดด้วยป้จจัย ๔ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการบ่ฏิบัติธรรมและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
    ตรงนี้เอง คือที่มาของหน้าที่หลักส์าด้ญของวัดทั้ง ๒ ประการดังกล่าวแล้ว
 เพราะเมื่อพระภิกษุยังทำหน้าที่เป็นผู้แจกจ่ายโลกุดรธรรมให้แก่ประชาชนได้นั้น นั้นย่อมแสดงว่า โรงเรียนสอนศีลธรรมยังเป็ดอยู่ในวัดนั้นได้
    ขณะเดียวกันเมื่อญาติโยมได้รับการแนะนำสั่งสอนให้เข้าถึงโลกุดรธรรมจากวัดนั้น ก็ย่อมเต็มใจที่จะทำหน้าที่บำรุงเลี้ยงด้วยปัจจัย ๔ โดยไม่สืดเคือง ซึ่งนั้นก็แสดงว่า ศรัทธาของบ่ระชาชนยังมั่นคงดีอยู่ วัดยังเป็นสถานที่สักดื้สิทธเพื่อการบรรลุธรรมในสายดาของประชาชนต่อไป
    แต่สิงที่ต้องพิจารณาให้ละเอียดลออยิ่งกว่านั้นก็คือ คุณค่าของข้าวปลาอาหารแต่ละทัพพีที่ญาติโยมถวายให้พระภิกษุนั้น ไม่เพียงแต่ต่อชีวิตพระภิกษุเท่านั้นแต่ยังสืบอายุพระพุทธศาสนาอีกด้วย ใครๆจึงต้องไม่มองเพียงมูลค่าของทรัพย์สินสิงของเท่านั้นเนื่องเพราะเรี่ยวแรงกำลังที่พระภิกษุได้จากข้าวปลาอาหารนั้น ได้ให้ทั้งการต่อชีวิตพระภิกษุและการต่ออายุพระพุทธศาสนา เพราะเมื่อพระภิกษุมีเรี่ยวแรงกำลัง จะสืกษาด้นคว้าและประพฤติปฏิบัติธรรมตามพระธรรมวินัยแล้ว ย่อมมีพระธรรมเทศนาดีๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติได้จริงนำกลับมาเทศน์สอนอบรมประชาชนให้เป็น"คนดีของสังคม" ต่อไป

     เมื่อประชาชนในท้องถิ่นเป็นคนดีของลังคม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินย่อมเกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้นครอบครัวก็อบอุ่น ชุมชนก็เข้มแข็ง ลังคมก็ร่มเย็น อบายมุขก็ไม่มี เศรษฐกิจก็ไม่ฝืดเคือง

     ผู้คนในย่านนั้นล้วนมีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส มีอัธยาศัยไมตรีที่ดีต่อกัน พระภิกษุก็น่ากราบ ผู้น้อยก็น่ารัก ผู้ใหญ่ก็น่าไหว้ทุกคนต่างเป็นผู้มีคืลมีธรรมมาแจกจ่ายให้กันและกันอย่างเหลือเฟือ

    สิงเหล่านี้เป็นผลมาจาก "ความอิ่มธรรมของประชาชน" ที่ได้รับมาจากการดูแล "ความอิ่มท้องของพระภิกษุ" ซึ่งไม่ได้สินเปลืองอันใดมาก เพียงบำรุงเลี้ยงด้วยข้าวปลาอาหารไม่กี่ทัพพีในแต่ละวันเท่านั้น ก็กํอให้เกิดคุณงามความดีอย่างมหาศาลต่อลังคมถึงเพียงนี้

     ดังนั้น วัดที่มีพระภิกษุให้ความอิ่มธรรมและญาติโยมให้ความอิ่มท้อง ย่อมเป็นบุญสถานดักดสิทธื้ออันเป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งบ่วง ย่อมเกื้อกูลความเจริญรุ่งเรืองต่อพระพุทธศาสนาอย่างมหาศาล เกียรติคุณอันไพศาลของวัดแห่งนั้น ย่อมแผ่ขจรขจายออกไบ่ทั่วทุกเขตคามด้วยความน่าอนุโมทนายินดีไม่มีที่สินสุดตั้งแต่

    (๑) ย่อมได้ชื่อว่า "มีความเกื้อกูลต่อสังคม" เพราะทำให้บ่ระชาชนเข้าวัดบ่ฏิบัติธรรม ตั้งใจประกอบคุณงามความดี
    (๒) ย่อมได้ชื่อว่า "มีความเกื้อกูลต่อพระพุทธศาสนา"เพราะทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง มีการสืบทอดธรรมะจากยุคส่ยุคไม่ขาดสาย
     (๓) ย่อมได้ชื่อว่า "มีความกตัญฌูกตเวทีต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า" เพราะทำให้การตรัสรู้ธรรมของพระพุทธองค์ไม่สูญเปล่า ทำให้ความเหนื่อยยากลำบากในการสร้างบารมียาวนานตลอดยี่สิบอสงไขยแสนมหากัปไม่หมดไปเปล่า
     ด้งนั้น วัดที่เป็นบ่อเกิดคุณความดีทั้งปวงและทำหน้าที่แจกจ่ายโลกุตรธรรมให้แก่สังคมด้วย "ความกตัญญูกตเวทีอันยิ่งใหญ่"คือ รู้คุณ ตอบแทนคุณ และประกาศคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเช่นนี้ ย่อมไม่มีวันเสื่อมร้างอย่างแน่นอน

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.0011231501897176 Mins