วัฒนธรรมชาวพุทธ "ฉบับทางก้าวหน้า" ลำดับเรื่อง : พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ

ชิตังเม 5,000 ล้านจบ วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สวดมนต์ข้ามปี ชีวิตจะสดใส สมบัติใหญ่จะใหลมา (ทบทวนโอวาทในอดีต)...อ่านต่อ
 "มหากฐิน" คือ กฐินสามัคคีที่เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจกันของพุทธศาสนิกชนที่มีความศรัทธาเลื่อมใสฝนพระพุทธศาสนา และตระหนักถึงอานิสงส์อันยิ่งใหญ่ของการทอดกฐิน...อ่านต่อ
พิธีถวายยารักษาพระภิกษุ - สามเณรอาพาธ บูชาธรรมพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี เนื่องในวันธรรมชัย 47 พรรษา  วันแห่งชัยชนะ วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2558...อ่านต่อ
การสร้างวิหารทาน เพื่อใช้จัดเตรียมภัตตาหารถวายเป็นสังฆทาน การสร้างโรงครัวจัดเป็นมหาทานที่ให้อานิสงส์มาก ที่เรียกว่า วิหารทาน แต่กรณีนี้ ผู้ทำจะได้บุญพิเศษเพิ่มมากไปกว่านั้นอีก...อ่านต่อ
พิธีผูกพัทธสีมา ปิดทอง ประดิษฐานลูกนิมิต ณ อุโบสถวัดพระธรรมกายบาวาเรีย สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558...อ่านต่อ
๒๒ เมษายน หรือวันคุ้มครองโลก (Earth Day) ของทุกปีเป็นวันแห่งการสั่งสมมหาทานบารมีครั้งยิ่งใหญ่...อ่านต่อ
"การทอดกฐิน" เป็นประเพณีอันดีงามของพุทธศาสนิกชนที่ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน กว่า 2,500 ปี...อ่านต่อ
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง และมหาสังฆทานของแผ่นดิน พิธีถวายสังฆทาน 30,000 วัด ทั่วประเทศวันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ.2557 ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี...อ่านต่อ
ร่วมพิธีทอดกฐินสามัคคี สืบทอดพุทธประเพณีที่ยาวนานกว่าสองพันปี ประเพณีทอดกฐินถือกำเนิดมาตั้งแต่ครั้งพุทธกาล โดยมีจุดเริ่มต้นจากการที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า...อ่านต่อ
อบรมระหว่างวันที่ ๑๙ มกราคม ถึง ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อสั่งสมบุญ แทนคุณแผ่นดิน สืบทอดพระศาสนา และบวชเอาบุญให้แม่ ...ผู้เป็นบุคคลที่ประเสริฐสุดในชีวิตของลูก...อ่านต่อ
อาคาร 100 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง จะเป็นอาคารที่รวมงานสร้างบารมีทุกอย่างของวัดพระธรรมกาย และจะช่วยให้งานเผยแผ่...อ่านต่อ
พิธีอัญเชิญรูปเหมือนทองคำ “พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ” รอบมหาธรรมกายเจดีย์ เพื่ออัญเชิญท่านไปประดิษฐาน ณ บ้านเกิด มหาวิหารหลวงปู่ จังหวัดสุพรรณบุรี...อ่านต่อ
“บ้านกัลยาณมิตรเป็นสิ่งที่ควรจะรีบสถาปนากันให้บังเกิดขึ้น ให้เร็วทันกับการแก้ไขปัญหาสังคม และการสั่งสมบุญของเรา หลวงพ่อเชื่อว่าบ้านกัลยาณมิตร...อ่านต่อ
"วันคุ้มครองโลก" วันสำคัญที่จะประกาศให้ชาวโลกได้รับรู้ว่า "โลกจะปลอดภัย เมื่อใจของทุกคนเข้าถึงธรรม" ซึ่งการนำธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า...อ่านต่อ
อาศรมบรรพชิต อาคารพระผู้ปราบมาร พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ห้องสวดมนต์ ชั้นบนสุดของอาคารใช้เป็นสถานที่ สวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็นของพระสงฆ์...อ่านต่อ
“ธุดงค์ธรรมชัย” ต้อนรับปีพุทธศักราชใหม่ ๒๕๕๕ เพื่อฟื้นฟูจิตใจผู้ประสบภัยน้ำท่วม ขจัดปัดเป่าผองภัย และสร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน...อ่านต่อ
เนื่องในโอกาสทองแห่งการสร้างมหากุศล และการแสดงความกตัญญูต่อพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย...อ่านต่อ
คำว่า " พุทธชยันตี " มาจากคำว่า "พุทธะ" หมายถึง พระสัมมาสัมพุทธเจ้า กับคำว่า "ชยันตี" ซึ่งมาจากคำว่า "ชย" แปลว่า ชัยชนะ เมื่อนำมารวมกันแล้ว หมายถึง...อ่านต่อ
มหาสังฆทาน 24,000 วัด และพิธีอัญเชิญรูปหล่อทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เวียนประทักษิณรอบพระมหาธรรมกายเจดีย์...อ่านต่อ
พระของขัวญเพื่อการตรึกระลึกถึงบุญในงานบุญต่างๆ ที่ผ่านมา...อ่านต่อ
การปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมกาย เป็นสุดยอดแห่งมหากุศล และสามารถทำให้ปุถุชนคนธรรมดากลายเป็นพระอริยบุคคลได้ การปฏิบัติธรรมอย่างถูกหลักวิชชาตามพุทธวิธี...อ่านต่อ
ในช่วงเย็น เหล่าลูกพระธัมฯ พร้อมเพรียงกัน เดินออกจากสภาฯ เข้าสู่ลานธรรม มีทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติจำนวนมาก...อ่านต่อ
หลังผ่านวันงานธรรมะคุ้มครองโลก ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ พระภิกษุสามเณร และเหล่าสาธุชน ต่างพร้อมใจกันช่วยเก็บงานให้เรียบรร้อย...อ่านต่อ
เมื่อมาถึงวันงาน ตรงกับวันเสาร์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ รับอรุณด้วยความสดชื่นแจ่มใส วันนี้ สภาธรรมกายสากลเนืองแน่นไปด้วยพี่น้องนักสร้างบารมีจากทั่วสารทิศ...อ่านต่อ
วันงาน ตรงกับวันเสาร์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ รับอรุณด้วยความสดชื่นแจ่มใส วันนี้ สภาธรรมกายสากลเนืองแน่นไปด้วยพี่น้องนักสร้างบารมีจากทั่วสารทิศ...อ่านต่อ
๒๒ เมษายน วันธรรมะคุ้มครองโลก บุญลาภอันประเสริฐของชาวพุทธจะมีกี่ครั้งในชีวิตที่ใครสักคนหนึ่งจะมีโอกาสได้ถวายมหาสังฆทานแด่พระภิกษุสงฆ์กว่า๕๐,๐๐๐ รูป จาก ๒๐,๐๐๐ กว่าวัดทั่วประเทศ...อ่านต่อ
บุญลาภอันประเสริฐของชาวพุทธจะมีกี่ครั้งในชีวิตที่ใครสักคนหนึ่งจะมีโอกาสได้ถวายมหาสังฆทานและไทยธรรม แด่พระภิกษุสงฆ์ผู้เป็นเนื้อนาบุญอันเลิศก...อ่านต่อ
สังฆทานเป็นทานที่มีอานิสงส์มากและไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นได้ง่าย เพราะต้องมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อุบัติขึ้นและต้องมีพระสงฆ์เป็นเนื้อนาบุญ...อ่านต่อ
โลกของเราใบนี้ได้รับการปกป้องคุ้มครองโดยธรรมมานานแสนนาน ธรรม ที่คุ้มครองโลกนี้เรียกว่า หิริ โอตตัปปะ คือ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป...อ่านต่อ
อาคาร 100 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง จะเป็นอาคารที่รวมงานสร้างบารมีทุกอย่างของวัดพระธรรมกาย...อ่านต่อ
วันนี้เป็นวันมหามงคลและวันมหาปีติที่เราได้พร้อมใจกันมาสร้างบารมี สร้างประวัติศาสตร์ชีวิตที่งดงามเราได้มาถวาย มหาสังฆทานแด่พุทธบุตรผู้เป็นเนื้อนาบุญ...อ่านต่อ
นับเป็นความเมตตาอย่างหาที่สุดมิได้อีกวาระหนึ่ง ที่พระมหาเถระ และพระเถรานุเถระ รวมถึงพระผู้ติดตามจากวัดต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยกว่า ๓๐.๐๐๐ วัด...อ่านต่อ
ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทย รวมใจพุทธบริษัท ๔ ทั้งแผ่นดิน อุปสมบทหมู่ ๗,๐๐๐ รูป ๗,๐๐๐ ตำบล ทั่วไทย เพื่อทดแทนคุณแผ่นดิน น้อมถวายเป็นพุทธบูชา...อ่านต่อ
ทุกท่านสามารถมีส่วนร่วมในการสถาปนามหาธรรมกายเจดีย์ ให้เป็นพุทธสถานแห่งการสร้างคนดีที่สมบูรณ์ ด้วยการร่วมสร้างพระธรรมกายประจำตัว...อ่านต่อ

วัฒนธรรมชาวพุทธ มารยาท การดูแลสุขภาพ พิธีกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

 วัฒนธรรมชาวพุทธ

           วัฒนธรรมชาวพุทธ เป็นแบบแผนการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม ซึ่งแฝงวิธีการฝึกฝนคุณธรรมด้วยกิจวัตร และกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิดเป็นอุปนิสัยตลอดจนถึงวิธีการดำเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชนมานานแสนนาน

           โดยจัดออกเป็น ๔ หมวด คือ วัฒนธรรมการใช้และดูแลรักษาปัจจัย ๔, วัฒนธรรมการดูแลรักษาสุขภาพ, มารยาทชาวพุทธ และศาสนพิธี จึงสะดวกต่อการนำไปเป็นแบบแผนในการปฏิบัติตัว และใช้ฝึกอบรมปลูกฝังคุณธรรมแก่เยาวชนและบุคคลทั่วไป เพราะเนื้อหาสาระของแต่ละหมวดจะมีหลักปฏิบัติที่ชัดเจน เข้าใจง่าย เมื่อใครลงมือปฏิบัติตามแล้ว คุณธรรมพื้นฐานที่จะเกิดขึ้นทันที คือ 
           ๑. ความรู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่การงานของตนเองและส่วนรวม มีความสม่ำเสมอในการทำความดี
           ๒. ความกระตือรือร้นในการฝึกฝนพัฒนาตนเองให้มีทั้งความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม
           ๓. ความอดทนและอดกลั้น
           ๔. ความมีน้ำใจต่อหมู่คณะและรู้จักสละอารมณ์ที่ขุ่นมัวออกจากใจ

           คุณธรรมดังกล่าวนี้ตรงกับหลักธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ตรัสสอนไว้ คือ ฆราวาสธรรม ๔ อันเป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะเจริญไปเป็นคุณธรรมเบื้องสูงอีกมากมาย เป้าหมายที่สำคัญในการฝึกปฏิบัติตามวัฒนธรรมชาวพุทธ คือ ฝึกเพื่อละจากความชั่ว แล้วตั้งอยู่ในคุณธรรมความดี ยังจิตของตนให้ผ่องใสอยู่เสมอ

: : วัฒนธรรมชาวพุทธ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรม มารยาทชาวพุทธ มารยาทไทย มารยาท

 
 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล