พึงบอกให้วัดกำหนดเงาอาทิตย์ พึงบอกฤดู จึงบอกส่วนแห่งวัน,พึงบอกรวบรวมกรรมนี้หมดด้วยกัน, พึงบอกนิสัย ๔ พึงบอกอกรณียกิจ ฯ
...อ่านต่อ
คำสวดให้ถืออุปัชฌายะ และบอกบาตรไตรจีวร คำสวดกรรมวาจา สมมติตนเป็นผู้สอนซ้อม คำสวด สอนซ้อมอุปสัมปทาเปกขะ
...อ่านต่อ
เมื่อเสร็จพิธีให้นิสัยแล้ว พระอุปัชฌายะพึงสอนอุปสัมปทาเปกขะ ว่าดังนี้
...อ่านต่อ
เมื่อนาคกล่าวคำขอบรรพชาจบแล้ว พระอุปัชฌาย์พึงสอนตามสมควรแก่สมัยโอกาสดังต่อไปนี้ ฯ
...อ่านต่อ
 ภิกษุผู้จะเป็นอุปัชฌายะให้อุปสมบท เป็นอาจารย์ให้นิสัยต้องประกอบด้วยองค์สมบัติ ๕ ประการ (๓ องค์เหมือนข้างต้น)
...อ่านต่อ
คำว่า เสมาหรือสีมา แปลว่า "เขตแดน" หมายถึง เขตกำหนดที่พระสงฆ์ทำพิธีผูกพัทธสีมา กำหนดไว้เป็นเขตแดนพิเศษ สำหรับพระสงฆ์ประชุมทำสังฆกรรม
...อ่านต่อ
การที่ลูกหลานจะจากไปบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนานั้นนับว่าเป็นการประกอบมหากุศลอันสำคัญที่สุด และยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิตของเราชาวพุทธ
...อ่านต่อ
ผ้าสบง ๑ ผ้าจีวร ๑ ผ้าสังฆาฏิ ๑ บาตร ๑ ประคดเอว ๑ มีดโกน หรือมีดตัดเล็บ ๑ เข็มเย็บผ้า ๑ ธมกรกผ้ากรองน้ำ ๑ 
...อ่านต่อ
วัตถุวิบัติ คือ คนมีกาลฝนหย่อน ๒๐ ปี ๑ บัณเฑาะก์ (กะเทย) ๑ อุภโตพยัญชนกคือคนมีเพศ ๒ ทั้งหญิงทั้งชาย ๑ ภิกษุณีทูสกคนทำร้ายภิกษุณี
...อ่านต่อ
ในกิจเหล่านี้เป็นหน้าที่ของอุปัชฌายะที่จะต้องฝึกสอนก่อนตั้งแต่แรกและเมื่อบวชจะต้องตรวจตราเครื่องบริขารที่จำเป็นของภิกษุขาดไม่ได้คือจีวรกับบาตร
...อ่านต่อ
เด็กผู้ควรได้รับบรรพชาเป็นสามเณรในคราวแรกทรงบัญญัติว่าต้องมีอายุถึง ๑๕ ปี ฯ
...อ่านต่อ
การบวชจึงหมายความเป็น ๒ คือบวชเป็นภิกษุ เรียก "อุปสัมปทา หรืออุปสมบท" บวชเป็นสามเณร เรียกว่า "บรรพชา" ฯ
...อ่านต่อ
คำว่า "บรรพชาอุปสมบท" มาจากคำว่า "บรรพชา" กับคำว่า "อุปสมบท" รวมกัน มีความหมายดังนี้ "บรรพชา" ก็คือการบวช
...อ่านต่อ
ในเบื้องแรกนี้ เพื่อให้ท่านได้เข้าใจและรู้จักกับพระอุปัชฌาย์ หรือ พระอุปัชฌายะ จึงขอทำความเข้าใจโดยสังเขป ดังนี้
...อ่านต่อ
เมื่อชายหนุ่มมีอายุครบ ๒๐ ปี บริบูรณ์แล้วต้องบวชเรียน ให้รู้จักการครองใจ ครองตน และครองเรือนเสียก่อน และยกย่องว่าเป็นคนสุกและเป็นคนดี
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล