สวดพระปาฏิโมกข์ ปาราชิกุทฺเทโส

วันที่ 18 ธค. พ.ศ.2558

สวดพระปาฏิโมกข์
ปาราชิกุทฺเทโส

ปาราชิกุทฺเทโส
 

 

         ตตฺริเม จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. /

         ๑. โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ สิกฺขาสาชีวสมาปนฺโน  / สิกฺขํ อปฺปจฺจกฺขาย ทุพฺพลฺยํ อนาวิกตฺวา   / เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสเวยฺย  / อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายาปิ, ปาราชิโก โหติ อสํวาโส. /

          ๒. โย ปน ภิกฺขุ คามา วา อรญฺญา วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อาทิเยยฺย, / ยถารูเป อทินฺนาทาเน ราชาโน โจรํ คเหตฺวา / หเนยฺยุํ วา พนฺเธยฺยุ วา ปพฺพาเชยฺยํ วา" โจโรสิ พาโลสิ มูฬฺโหสิ เถโนสีติ; / ตถารูปํ ภิกฺขุ อทินฺนํ อาทิยมาโน, / อยมฺปํ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส. /

          ๓. โย ปน ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปยฺย, / สตฺถหารกํ วาสฺส ปริเยเสยฺย, / มรณวณฺณํ วา สํวณฺเณยฺย, มรณาย วา สมาทเปยฺย / " อมฺโภ ปุริส กึ ตุยฺหิมินา ปาปเกน ทุชฺชีวิเตน, / มตนฺเต ชีวิตา เสยฺโยติ; / อิติ จิตฺตมโน จิตฺตสงฺกปฺโป อเนกปริยาเยน / มรณวณฺณํ วา สํวณฺเณยฺย, มรณาย วา สมาทเปยฺย; / อยมฺปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.

          ๔. โย ปน ภิกฺขุ อนภิชานํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ / อตฺตูปนายิกํ อลมริยญาณทสฺสนํ สมุทาจเรยฺย / " อิติ ชานามิ อิติ ปสฺสามีติ; / ตโต อปเรน สมเยน สมนุคฺคาหิยมาโน วา อสมนุคฺคาหิยมาโน วา / อาปนฺโน วิสุทฺธาเปกฺโข เอวํ วเทยฺย  / " อชานเมวํ อาวุโส อวจํ  "ชานามิ" "อปสฺสํ "ปสฺสามิ" ตุจฺฉํ มุสา วิลปินฺติ, อญฺญตฺร อธิมานา; อยมฺปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.  /

       อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา, / เยสํ ภิกฺขุ อญฺญตรํ วา อญฺญตรํ วา อาปชฺชิตฺวา น ลภติ / ภิกฺขูหิ สทฺธึ สํวาสํ, ยถา ปุเร; ตถา ปจฺฉา; / ปาราชิโก โหติ อสํวาโส,  /

        ตตฺถายสฺมนฺเต ปจฺฉามิ:   กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /   

        ทุติยมฺปิ ปจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /

        ตติยมฺปิ ปจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /

        ปริสุทฺเธตฺถายสิมนิโต; ตสฺมา ตุณฺหี,   /  เอวเมตํ ธารยมิ. 

        ปาราชิกุทฺเทโส นิฏฺฐิโต.
 

*คือเชื่อก็ตามไม่เชื่อก็ตาม แต่ในบทภาชนย์วิภังค์แก่ความว่า ถูกซักก็ตาม ไม่ถูกซักก็ตาม. 
 

line03.jpg


คำแปลปาราชิกุทฺเทโส

ตตฺริเม จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา
อาบัติทั้งหลายชื่อวาปาราชิก ๔ เหลานี้
อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ.
ย่อมมาสูอุทเทสในปาฏิโมกข์นั้น. 
    ๑. โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขูนํ สิกฺขาสาชีว-
๑. อนึ่ง ภิกษุใดถึงพร้อมด้วยสิกขาและ
สมาปนฺโน
ธรรมเนียมเลี้ยงชีพร่วมกัน ของภิกษุทั้งหลาย
สิกฺขํ อปฺปจฺจกฺขา
ไม่กล่าวคืนสิกขา
ทุพฺพลฺยํ อนาวิกตฺวา
 ไม่ได้ทําให้แจ้งความเป็นผู้ถอยกําลัง (คือความท้อแท้ )
เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสเวยฺย
พึงเสพเมถุนธรรม
อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายาปิ,
โดยที่สุดแม้ในดิรัจฉานตัวเมีย
ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.
ภิกษุนี้เป็นปาราชิกไม่มีสังวาส (คือธรรม เป็นเหตุอยู่ร่วมกับภิกษุอื่น)
     ๒. โย ปน ภิกฺขุ คามา วา อรญฺญา
๒. อนึ่ง ภิกษุใดถือเอาทรัพย์อันเจ้าของ
วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อาทิเยยฺย,
ไม่ได้ให้เป็นส่วนโจรกรรม จากบ้านก็ดีจากป่าก็ดี
ยถารูเป อทินฺนาทาเน ราชาโน โจรํ 
พระราชาจับโจรได้แล้ว ฆ่าเสียบ้าง จําขัง
คเหตฺวา หเนยฺยุํ วา พนฺเธยฺยุ วา
ไว้บ้าง เนรเทศเสียบ้างด้วยปรับโทษว่า
ปพฺพาเชยฺยํ วา" โจโรสิ พาโลสิ มูฬฺโหสิ
เจ้าเป็นโจรเจ้าเป็นคนพาลเจ้าเป็นคนหลง
เถโนสีติ;
เจ้าเป็นคนขโมยดังนี้เพราะถือเอาทรัพย์ อันเจ้าของไม่ได้ให้เห็นปานใด
ตถารูปํ ภิกฺขุ อทินฺนํ อาทิยมาโน,
ภิกษุถือเอาทรัพย์อันเจ้าของไม่ได้ให้เห็นปานนั้น
อยมฺปํ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.
 แม้ภิกษุนี้ก็เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้.
     ๓. โย ปน ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺส-
 ๓. อนึ่ง ภิกษุใดแกล้งพรากกายมนุษย์
วิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปยฺย,
จากชีวิต
สตฺถหารกํ วาสฺส ปริเยเสยฺย,
หรือแสวงหาศัสตราอันจะนํา (ชีวิต ) เสียให้แก่กายมนุษย์นั้น
มรณวณฺณํ วา สํวณฺเณยฺย,
หรือพรรณนาคุณแห่งความตาย
มรณาย วา สมาทเปยฺย
หรือชักชวนเพื่ออันตาย
" อมฺโภ ปุริส กึ ตุยฺหิมินา ปาปเกน
ด้วยคําว่า "แน่ะ นายผู้เป็นชาย มีประโยชน์
ทุชฺชีวิเตน, มตนฺเต ชีวิตา เสยฺโยติ;
อะไรแก่ท่านด้วยชีวิตอันชั่วนี้ท่านตายเสีย ดีกว่าเป็นอยู่" ดังนี้
อิติ จิตฺตมโน จิตฺตสงฺกปฺโป
 เธอมีจิตใจ มีจิตดําริอย่างนี้
อเนกปริยาเยน มรณวณฺณํ วา สํวณฺเณยฺย,
 พรรณนาคุณแห่งความตายก็ดีชักชวนเพื่อ
มรณาย วา สมาทเปยฺย;
อันตายก็ดีโดยหลายนัย
อยมฺปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.
แม้ภิกษุนี้ก็เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้
      ๔. โย ปน ภิกฺขุ อนภิชานํ อุตฺตริ-
๔. อนึ่ง ภิกษุใดไม่รู้เฉพาะ (คือไม่รู้จริง)
มนุสฺสธมฺมํ อตฺตูปนายิกํ อลมริยญาณ-
ความเห็นอย่างประเสริฐอย่างสามารถ น้อม เข้าในตัวว่า 
" อิติ ชานามิ อิติ ปสฺสามีติ;
ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้
ตโต อปเรน สมเยน สมนุคฺคาหิยมาโน
ครั้นสมัยอื่น แต่นั้น อันผู้ใดผู้หนึ่ง ถือเอา
วา อสมนุคฺคาหิยมาโน วา อาปนฺโน
ตามก็ตาม* ไม่ถือเอาตามก็ตาม ก็เป็นอันต้อง
วิสุทฺธาเปกฺโข เอวํ วเทยฺย
อาบัติแล้ว มุ่งความหมดจด (คือพ้นโทษ)จะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า 
" อชานเมวํ อาวุโส อวจํ " ชานามิ "
 แน่ะท่าน ข้าพเจ้าไม่รู้ได้กล่าวว่ารู้  ไม่เห็น
"อปสฺสํ " ปสฺสามิ "
ได้กล่าวว่าเห็น
ตุจฺฉํ มุสา วิลปินฺติ,
ได้พูดพล้อยๆ เป็นเท็จเปล่า ๆ
อญฺญตฺร อธิมานา;
เว้นไว้แต่ว่าสําคัญว่าได้บรรลุ
อยมฺปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส.
แม้ภิกษุนี้ก็เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้.
        อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต จตฺตาโร
ท่านทั้งหลายอาบัติปาราชิก ๔ อัน
ปาราชิกา ธมฺมา,
ข้าพเจ้าได้แสดงขึ้นแล้วแล. 
เยสํ ภิกฺขุ อญฺญตรํ วา อญฺญตรํ วา
ภิกษุต้องอาบัติเหล่าไรเล่าอันใดอันหนึ่งแล้ว
อาปชฺชิตฺวา น ลภติ ภิกฺขูหิ สทฺธึ สํวาสํ,
 ย่อมไม่ได้สังวาสกับด้วยภิกษุทั้งหลายเหมือน
ยถา ปุเร; ตถา ปจฺฉา;
 อย่างแต่ก่อน 
ปาราชิโก โหติ อสํวาโส,
เป็นปาราชิกไม่มีสังวาส
ตตฺถายสฺมนฺเต ปจฺฉามิ:
ข้าพเจ้าถามท่านทั้งหลาย ในข้อเหล่านั้น
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ? 
ทุติยมฺปิ ปจฺฉามิ: 
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๒ 
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ? 
ตติยมฺปิ ปจฺฉามิ:
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๓
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ? 
ปริสุทฺเธตฺถายสิมนิโต;
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์ในข้อเหล่านี้แล้ว
ตสฺมา ตุณฺหี,
เหตุนั้น จึงนิ่ง. 
เอวเมตํ ธารยมิ.
ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
ปาราชิกุทฺเทโส นิฏฺฐิโต.
ปาราชิกุทเทส จบ. 

 

 


อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก 
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.02079846461614 Mins